ความแตกต่างระหว่างบุคคลธรรมดา กับ นิติบุคคล ธุรกิจแบบบุคคลธรรมดาจะเป็นธุรกิจที่มีลักษณะเป็นแบบเจ้าของเพียงคนเดียว การทำงานจะเป็นแบบคิดด้วยตัวเอง ทำด้วยตัวเองไม่มีหุ้นส่วนใดๆ ทำให้การทำงานแบบนี้เป็นไปด้วยความรวดเร็วเนื่องจากไม่ต้องไปประชุมเพื่อผ่านการเห็นชอบของผู้ถือหุ้น แต่เนื่องจากเป็นธุรกิจของคนเพียงคนเดียวเมื่อเวลาทีเกิดผลเสียขึ้นก็ต้องรับผิดชอบเพียงคนเดียวลักษณพของการเสียภาษ๊ก็จะเป็นไปในรูปแบบอัตราความก้าวหน้า ซึ่งภาษีที่จะถูกเก็บมากที่สุดจะเป็น 37% ของกำไรสุทธิ การเสียภาษีมีลักษณะสองแบบ เป็นแบบเหมา และ เป็นแบบคิดตามจริง ซึ่งแบบตามตริงนี้จำเป็นที่จะต้องนำเอกสารที่สามารถยอมรับได้ในทางบัญชีมาคิดตามความจริง
นิติบุคคล เป็นธุรกิจที่ต้องจดทะเบียน 2 คนขึ้นไป ที่จะทำงานร่วมกัน โดยผลประโยชน์ของบริษัทจะแบ่งเป็นอัตราส่วนตามที่แต่ละคนได้ลงทุนกัน แบ่งได้เป็นหลายประเภท
ห้างหุ้นส่วนสามัญ
- แบบนี้ไม่จำเป็นต้องเป็น นิติบุคคล
- ผู้เป็นหุ้นส่วน จะต้องรับผิดชอบแบบไม่ได้จำกัดตามที่ได้ลงทุนตอนจดทะเบียน
- แต่ถ้าได้จด ทะเบียน ก็จะเป็นอีกแบบหนึ่งจะเรียกว่า ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล
ห้างหุ้นส่วนจำกัด
- ต้องจดทะเบียนเป็นแบบนิติบุคล
- จะมีการรับผิดชอบหนี้สินไม่เกินเงินที่ได้ลงทุนไป
บริษัทจำกัด
- เงินลงทุนที่ใช้ในการจดทะเบียนจำเป็นที่แต่ละคนจะต้องมีหีเท่าๆกัน
- ต้องมีผู้เข้ามาจดทะเบียนบริษัทไม่ต่ำกว่า 3 คน
- ถ้าลงทะเบียนแบบนี้สถานภาพจะเปลี่ยนเป็นนิติบุคคล
- สามารถระดมทุนได้มากกว่าและง่ายกว่า
- การตัดสินใจต้องผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการก่อน ทำให้เป็นที่น่าเชื่อถือกว่าแบบบุคคลธรรมดา
นี่เป็นสิ่งที่เราควรรู้ก่อนที่เราจะนำจดทะเบียนบริษัท และ การจดทะเบียนในแบบอื่นๆ ถ้าคิดว่าที่กล่าวมายุ่งยากสามารถหาบริษัทที่คอยปรึกษาหรือบริษัทที่ รับจดทะเบียนบริษัท อย่างบริษัท Servcorp ที่ให้บริการครบวงจรเกี่ยวกับธุรกรรมของธุรกิจ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น